ตรวจอาการเบื้องต้นด้วยตนเอง: โรคความดันโลหิตสูง ตัวการร้ายอันตรายกว่าที่คิด หลายคนคงทราบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่อันตราย แต่ขณะเดียวกันก็ยังไม่ทราบว่าความอันตรายที่ว่านั้น มันอันตรายอย่างไร เพื่อคลายข้อสงสัยรามาแชนแนลจึงได้ติดต่อสอบถามผู้เชี่ยวชาญอย่าง ผศ. นพ.ภาวิทย์ เพียรวิจิตร จากสาขาวิชาโรคหัวใจ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อให้ช่วยเล่าข้อมูลอย่างครบถ้วน ทั้ง
- โรคความดันโลหิตสูง เกิดจากสาเหตุใด ?
- แบบไหนจึงจะเรียกว่าโรคความดันโลหิตสูง ?
- หากเป็นขึ้นมาจะอันตรายขนาดไหน ?
- เป็นโรคความดันโลหิตสูงแล้วต้องทำตัวอย่างไร ?
- สุดท้ายมีอาหารหรือสมุนไพรช่วยลดความดันโลหิตสูงหรือไม่ ?
ลดภาวะแทรกซ้อน "โรคความดันโลหิตสูง" ในผู้สูงอายุ
การปฏิบัติตัวของผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อน สามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้ค่ะ
ควบคุมน้ำหนัก
ไม่สูบบุหรี่
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ทานยาตามแพทย์สั่ง
พักผ่อนให้เพียงพอ
วัดความดันโลหิตสม่ำเสมอ
โรคความดันโลหิตสูง
ลดความเค็ม เติมสุขภาพดี รับมือโรคความดันโลหิตสูง
ภาวะที่พบร่วมด้วย
เส้นเลือดหัวใจตีบ
เส้นเลือดสมองตีบ เส้นเลือดสมองแตก
ไตวายเฉียบพลัน
เวียนหัว หน้ามืดเฉียบพลัน
โรคที่มักพบร่วมกัน
โรคอ้วน
โรคเบาหวาน
เมนูแนะนำ
ราเมงผัดผัก-สันในหมูย่าง
ราเมงไรซ์เบอร์รี 70 กรัม
สันในหมู 100 กรัม
กวางตุ้ง 30 กรัม
บลอกโคลี 50 กรัม
พริกหวาน 2 ลูก
เห็ดหอม 3 หัว
เม็ดมะม่วงหิมพานต์อบ 20 กรัม
กระเทียม 3 กลีบ
น้ำมันงา 1 ช้อนชา
ซีอิ๊วขาว 1 ช้อนชา
ซอสหอยนางรม 1 ช้อนชา
ขิงอ่อน 10 กรัม
ผงกระเทียม พริกไทย และน้ำมันมะกอกสำหรับหมักหมู